งานประชุมวิชาการดนตรีวิทยา ม.มหิดล 24-25 ก.พ.




วันพฤหัสบดีที่  24 กุมภาพันธ์ 2554
ภาคเช้า
8.00 น. ลงทะเบียนผู้เข้าร่วมประชุมวิชาการ
8.30 น. พิธีเปิด
8.45 น. ประธานกล่าวปาฐกถานำ
9.00 น. การเสนอบทความวิชาการ
9.00 – 11.30 น. พระราชนิพนธ์ เสภา พญาราชวังสันประกอบการขับเสภา และบรรเลงปี่พาทย์เสภา
1. โหมโรง
2. เพลงพม่าห้าท่อน
3. เพลงจระเข้หางยาว
4. เพลงพระอาทิตย์ชิงดวง
เสนองานโดย ผู้ช่วยศาสตราจารย์เดชน์  คงอิ่ม และนักศึกษาวิทยาลัยดุริยางคศิลป์ บรรเลงปี่พาทย์เสภาและขับร้อง อาจารย์จตุพร สีม่วง(นศ.ป.เอก ดนตรีวิทยา ม.ขอนแก่น)  ขับ เสภา นางสาวณัฏฐนิช  นักปี่(นศ.ป.โท สาขาดนตรีวิทยา) บรรยาย การบรรเลงเดี่ยวเพลง  พญาโศก  3 ชั้น โดย อาจารย์-นักศึกษา มหาวิทยาลัยมหิดล
12.00 – 13.00 น. พักรับประทานอาหารกลางวัน

ภาคบ่าย
13.00 – 14.30 น. การเสวนาเรื่อง “ละครร้อง 6 เรื่อง พระราชนิพนธ์ในรัชกาลที่ 6” โดย ผศ. คมคาย  กลิ่นภักดี สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์ กรมศิลปากร
การแสดงตัวอย่าง ละครรำพระราชนิพนธ์เรื่อง “ศกุนตลา” ตอน ท้าวทุษยันต์ตามกวาง ถึง พบนางศกุนตลา นักศึกษาสถาบัน    บัณฑิตพัฒนศิลป์ กรมศิลปากร
14.30 – 15.45 น. บทความวิชาการ “เพลงตับเรื่องพระนาละ” พระราชนิพนธ์ในรัชกาลที่  6 โดย นายนิธิศ  แปงน้อย(นศ.ป.โท ดนตรีวิทยา มหิดล) ประวัติ ม.ล.เล็ก     กุญชร อัศวเสนา ผู้บันทึกเพลงตับชุดนี้(พ.ศ. 2471) โดย อาจารย์ช้างต้น กุญชร ณ อยุธยา (มหาวิทยาลัยรังสิต)

15.45 -16.30 น. งานพระราชนิพนธ์ “เบิกโรง” ในรัชกาลที่ 6 รวม 3 เรื่อง เพลงพระราชนิพนธ์เบิกโรง “พระคเณศวร์เสียงา” เพลงพระราชนิพนธ์เบิกโรง “รามสูรย์ชิงแก้ว” เพลงพระราชนิพนธ์เบิกโรง “ฤษีเสี่ยงลูก”โดย รศ.ดร.ชมนาด กิจขันธ์ และ ผศ. สุภาวดี โพธิเวชกุล สาขาวิชาศิลปการแสดง  คณะศิปกรรมศาสตร์ ม. ราชภัฎสวนสุนันทา

16.30 – 18.00 น. พักรับประทานอาหารเย็น
18.00 – 19.30 น. เรื่อง“วงเครื่องสายผสมเปียโนฝ่ายใน ราชสำนักรัชกาลที่ 6”  โดย นางสาวรตวรรณ พฤกษาโรจนกุล (น.ศ.ป.โท ดนตรีวิทยา มหิดล) การบรรเลงวงเครื่องสายผสมเปียโน โดย  อาจารย์สหรัฐ  จันทร์เฉลิม และ นักศึกษาวิทยาลัยดุริยางคศิลป์ เพลงจากเรื่องวิวาหพระสมุทรและเรื่องปล่อยแก่

19.30 – 21.00 น.    วงดุริยางค์สากล Thailand  Philharmonic Orchestra โดย อาจารย์ และนักศึกษา  พันตรี ประทีป สุพรรณโรจน์ อำนวยเพลง บรรเลงและขับร้องเพลงไทยสากล  บทพระราชนิพนธ์ในรัชกาลที่ 6  ประมาณ 12 เพลง  (มีการแสดงของราชภัฎสวนสุนันทาด้วยบางเพลง)

วันศุกร์ที่ 25 กุมภาพันธ์ 2554

8.30 -  9.00 น. ลงทะเบียน
9.00 – 9.45 น. บทความ ครูผู้สอนดนตรีฝรั่งในสมัยรัชการที่ 6 หมื่นคำรณพิฆาต หมื่นอำนาจไพรี  ขุนดนตรีบรรเลง Alberto Nazzari  พระประดิษฐ์ไพเราะ (เอ วัน) พระเจนดุริยางค์ วาทิตบรเทศ(แดง) ฯลฯ อ. ณัจชยา นัจจนาวานกุล  (นศ.ป.เอก ดนตรีวิทยา มหิดล) มหาวิทยาลัยนเรศวร
9.45 -11.15 น. บทความโรงเรียนพรานหลวง และ กำเนิดวงเครื่องสายฝรั่งหลวง อ. เสถียร ดวงจันทร์ทิพย์ (นักวิจัยดนตรีวิทยา มหิดล)
11.15 -12.00 น. บทความ  “มหาอุปรากรในสมัยรัชกาลที่ 6” น.ส.ณัฐธัญ  อินทร์คง (นศ.ป.เอก ดนตรีวิทยา) เรื่องเจ้าตากสิน  เรื่อง  Cavelleria Rusticana  (พ.ย.2461) เรื่อง Il Pagliacci (ธ.ค. 2464)
12.00 – 13.00 น. พักรับประทานอาหารกลางวัน
13.00 – 15.00 น. การอภิปรายหมู่ วิเคราะห์เพลงฝรั่งที่เกิดใหม่ ในสมัยรัชกาลที่ 6 เพลงพระนิพนธ์ทูลกระหม่อมบริพัตร   4  เพลง:
-เพลงโศก นายกมลธรรม เกื้อบุตร (นศ.ป.โท ดนตรีวิทยา)
-เพลงสรรเสริญเสือป่า นายศุภศิระ  ทวิชัย (นศ.ป.โท ดนตรีวิทยา)
-เพลงมหาฤกษ์  น.ส. อรณิชา  อรรจนกุล (นศ.ป.โท ดนตรีวิทยา)
-เพลงสาครลั่น น.ส.ดารารัตน์  หุตะวัฒนะ (นศ.ป.โท ดนตรีวิทยา)
ผู้ดำเนินการอภิปรายโดย    ผู้ช่วยศาสตราจารย์อนรรฆ  จรัณยานนท์

15.00-15.30 น.   บทความ “ดัมบ์แครมโบ” พระราชนิยมการละเล่นในราชสำนักรัชกาลที่ 6” ศ. เกียรติคุณ น.พ.พูนพิศ  อมาตยกุล

15.30-16.30 น.   สมเด็จพระมงกุฎเกล้ากับกำเนิดภาพยนตร์ไทย บรรยายและฉายภาพ อ.โดม  สุขวงศ์ และคณะจากพิพิธภัณฑ์ภาพยนตร์ ศาลายา

16.30  น. พิธีปิด

นิทรรศการ พระบาทสมเด็จพระมงกุฏเกล้าเจ้าอยู่หัวกับการดนตรี จัดในห้องโถง หน้าหอแสดงดนตรี  ชั้นบน  และล่างโดยอาจารย์และนักศึกษา

1. พระราชประวัติ
1.1    เสนอไสลด์ฉายภาพนิ่ง ประกอบคำบรรยาย เวียน  (ใช้หูฟัง)
1.2    พระบรมรูป พระรูป ขาวดำ สี บน Board พร้อมคำบรรยาย ตั้งแต่ประสูติ    
         ทรงศึกษา ณ ประเทศอังกฤษพระรูปแสดงทรงละคร ทรงดนตรีพระรูปครอบครัว 
         พระมเหษี เทวี และเจ้าจอม พระราชธิดา
2.      เอกสาร สิ่งพิมพ์  หนังสือ สื่อเสียง เพลงดนตรีพระราชนิพนธ์
2.1    ตัวอย่างหนังสือ ภาพถ่ายลายพระหัตถ์บทเพลง พระราชนิพนธ์
2.2    ภาพบุคคลสำคัญ ที่เกี่ยวข้องกับเพลงดนตรี-พระราชนิพนธ์
2.3    ภาพและหลักฐานทางวิชาการ เกี่ยวกับบุคคล และเหตุการณ์ ดนตรี สมัย รัชกาลที่ 6
        ภาพ วงเครื่องสายฝรั่งหลวง และนักดนตรีฝรั่ง ภาพ นักดนตรีไทย กรมมหรสพ
        ภาพ ศิลปิน นักแสดงบางราย
2.4    สื่อเสียงเพลงพระราชนิพนธ์ เครื่องเล่นแผ่นเสียงสมัย ร.6 แผ่นเสียง เพลงไทยสมัย ร.6 แผ่นเสียงและ CD  เพลงพระราชนิพนธ์ รัชกาลที่ 6 ภาพผู้เกี่ยวข้องกับงานผลิตสื่อเสียง ในสมัย ร.6 แผ่นเสียงที่    กรมมหรสพ สมัยร. 6 บันทึก โดยพระยาประสานดุริยศัพท์และนักดนตรี นักร้องของกรมมหรสพ
3.  ผังสรุปงานสำคัญ เกี่ยวกับการดนตรี ที่เกิดในสมัยรัชกาลที่ 6

4.  กล่อง แสดงความคิดเห็น ของผู้เข้าร่วมสัมมนา

Weblink

masuk1